หน่วยที่ 6 ใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้
เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันเกี่ยวข้องกับความต้องการในปัจจัยสี่ของมนุษย์
เทคโนโลยีที่มีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตเทคโนโลยีที่มีประโยชน์กับชีวิตมีหลายด้าน เช่น
1. เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology) หมายถึง การนำความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารให้มีคุณภาพและมีปริมาณเพิ่มขึ้น
2. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ การนำชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์มาทำให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง โดยกระบวนการทางชีววิทยา
3. เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม หมายถึง การนำเทคโนโลยีต่าง ๆมาใช้ในกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร
4. เทคโนโลยีสิ่งทอ (Textile Technology) หมายถึง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการผลิตสิ่งทอ
5. นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnolog) หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดการ การสร้าง และการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมากๆ รวมถึงการออกแบบหรือการประดิษฐ์เครื่องมือเพื่อใช้สร้างหรือวิเคราะห์
การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีต้องแสวงหาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ นอกจากนี้เทคโนโลยียังมีผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาชีวิตและความเป็นอยู่ของมนุษย์ ดังนั้นการเลือกใช้เทคโนโลยีจึงควรพิจารณาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้เทคโนโลยีเป็นสำคัญ
ปัจจัย มีดังนี้
1. ปัจจัยทางการตลาด
2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับการลงทุน
3. ปัจจัยทางเทคโนโลยีการผลิต
4. ปัจจัยด้านความเหมาะสมของเทคโนโลยี
5. ปัจจัยเกี่ยวกับการประเมินผลเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสะอาดหมายถึง กลยุทธ์ในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ เพื่อจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง เข้าใจปัญหาและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา มีการจัดสรรและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยประหยัดการใช้สิ่งต่างๆ โดยกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซ้ำ ช่วยปรับปรุงสภาพการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ช่วยปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ทำให้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ้น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและกำไร ช่วยลดการเกิดของเสียในโรงงานอุตสาหกรรมและกำจัดของเสียได้ง่าย ช่วยทำให้สถานประกอบการมีความสะอาด และเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อสังคม ช่วยลดมลพิษและลดการสะสมตัวของความเป็นพิษต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อม ช่วยแบ่งเบาการติดตามตรวจสอบของภาครัฐ ช่วยส่งเสริมภาพพจน์ของประเทศไทยในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพในการส่งออก
ประโยชน์ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง เข้าใจปัญหาและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา มีการจัดสรรและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยประหยัดการใช้สิ่งต่างๆ โดยกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซ้ำ ช่วยปรับปรุงสภาพการทำงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ช่วยปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ทำให้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ้น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและกำไร ช่วยลดการเกิดของเสียในโรงงานอุตสาหกรรมและกำจัดของเสียได้ง่าย ช่วยทำให้สถานประกอบการมีความสะอาด และเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีต่อสังคม ช่วยลดมลพิษและลดการสะสมตัวของความเป็นพิษต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อม ช่วยแบ่งเบาการติดตามตรวจสอบของภาครัฐ ช่วยส่งเสริมภาพพจน์ของประเทศไทยในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และเพิ่มศักยภาพในการส่งออก
หลักการของเทคโนโลยีสะอาด
1. การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ1) การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์
2) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต
2. การนำกลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซ้ำ แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ1) การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ใหม่
2) การใช้เทคโนโลยี
1. การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ1) การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์
2) การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต
2. การนำกลับมาใช้ใหม่หรือใช้ซ้ำ แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ1) การนำผลิตภัณฑ์มาใช้ใหม่
2) การใช้เทคโนโลยี
การเลือกใช้เทคโนโลยีด้วยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาดเทคโนโลยีสะอาดเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ จะช่วยเพิ่มผลผลิตและเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ประหยัด ลดความเสี่ยงอุบัติเหตุ เพิ่มความสามารถการแข่งขันทางธุรกิจ
ขั้นตอนการเลือกใช้ มีดังนี้
1. การวางแผนและจัดองค์การ
2. การประเมินเบื้องต้น
3. การประเมินโดยละเอียด
4. การศึกษาความเป็นไปได้
5. การลงมือปฏิบัติ
6. การติดตามประเมินผล
หลักการของเทคโนโลยีสะอาดจะเกี่ยวข้องกับวิธีการต่อไปนี้1. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
2. การใช้ซ้ำ (Reuse)
3. การลดการใช้ (Reduce)
2. การใช้ซ้ำ (Reuse)
3. การลดการใช้ (Reduce)
การเลือกใช้เทคโนโลยีสะอาดเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมการนำเทคโนโลยีมาใช้กับทรัพยากรย่อมก่อให้เกิดมลพิษ มลพิษแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ การลดปริมาณมลพิษ รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์ด้วยวิธีการ Recycle มีการเลือกใช้เทคโนโลยีสะอาดเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในการบำบัดหรือกำจัดของเสีย เป็นการนำหลักการมาใช้เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
1. ของเสียที่เป็นของแข็ง มีวิธีการกำจัดหรือบำบัดดังนี้1.1 ระบบการแยก ผ่านกระบวนการ Recycle
1.2 ระบบการกรอง ส่วนของเหลวที่ทะลุผ่านนั้นอาจใช้สารเคมีทำให้ตกตะกอน แล้วนำไปกำจัด หรือนำกลับไปใช้ใหม่ หรือมีการฆ่าเชื้อเฉพาะของเหลวที่เป็นน้ำ
1.3 ระบบการฝังกลบ ใช้สำหรับกำจัดขยะมูลฝอยโดยกลบหลุมให้แน่น
1.4 ระบบการทำปุ๋ยหมัก ใช้กับของเสียที่เป็นสารอินทรีย์เพื่อฝังกลบในบ่อหมัก
1.5 ระบบการเผา ต้องใช้ความร้อนสูง อาจก่อให้เกิดสารพิษ ดังนั้นควรออกแบบระบบการเผาโดยใช้เตาเผาและเครื่องกรองอากาศเพื่อกำจัดสารพิษ2. ของเสียที่เป็นของเหลว มีวิธีการกำจัดหรือบำบัดดังนี้
2.1 ระบบการใช้จุลินทรีย์ช่วยย่อยสลาย ใช้กับน้ำเสีย
2.2 ระบบการตกตะกอน
2.3 ระบบการแปรรูป ใช้กับน้ำมันและไขมัน3. ของเสียที่เป็นก๊าซและฝุ่นละออง การใช้ระบบ การตกตะกอน และมีการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบแม่เหล็กไฟฟ้าสถิตดูดอีกด้วย
1. ของเสียที่เป็นของแข็ง มีวิธีการกำจัดหรือบำบัดดังนี้1.1 ระบบการแยก ผ่านกระบวนการ Recycle
1.2 ระบบการกรอง ส่วนของเหลวที่ทะลุผ่านนั้นอาจใช้สารเคมีทำให้ตกตะกอน แล้วนำไปกำจัด หรือนำกลับไปใช้ใหม่ หรือมีการฆ่าเชื้อเฉพาะของเหลวที่เป็นน้ำ
1.3 ระบบการฝังกลบ ใช้สำหรับกำจัดขยะมูลฝอยโดยกลบหลุมให้แน่น
1.4 ระบบการทำปุ๋ยหมัก ใช้กับของเสียที่เป็นสารอินทรีย์เพื่อฝังกลบในบ่อหมัก
1.5 ระบบการเผา ต้องใช้ความร้อนสูง อาจก่อให้เกิดสารพิษ ดังนั้นควรออกแบบระบบการเผาโดยใช้เตาเผาและเครื่องกรองอากาศเพื่อกำจัดสารพิษ2. ของเสียที่เป็นของเหลว มีวิธีการกำจัดหรือบำบัดดังนี้
2.1 ระบบการใช้จุลินทรีย์ช่วยย่อยสลาย ใช้กับน้ำเสีย
2.2 ระบบการตกตะกอน
2.3 ระบบการแปรรูป ใช้กับน้ำมันและไขมัน3. ของเสียที่เป็นก๊าซและฝุ่นละออง การใช้ระบบ การตกตะกอน และมีการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบแม่เหล็กไฟฟ้าสถิตดูดอีกด้วย
แหล่งที่มาของเนื้อหา :
สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช www.wpp.co.th
http://www.trueplookpanya.com